เขมรถิ่นไทย

เขมรถิ่นไทย

ภาษาเขมรถิ่นไทย เป็นภาษาเขมรที่ใช้พูดอยู่ในประเทศไทย เป็นภาษาพื้นบ้านภาษาหนึ่งที่พูดกันอยู่ในหลายจังหวัดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก เช่น สุรินทร์ ศรีสะเกษ บุรีรัมย์
จัดทำโดย: 
ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร

ภาษาเขมรถิ่นไทย เป็นภาษาเขมรที่ใช้พูดอยู่ในประเทศไทย เป็นภาษาพื้นบ้านภาษาหนึ่งที่พูดกันอยู่ในหลายจังหวัดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก เช่น สุรินทร์ ศรีสะเกษ บุรีรัมย์ และมีผู้พูดบางส่วนอยู่ในจังหวัด อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด มหาสารคาม นครราชสีมา สระแก้ว ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา และจันทบุรี

ภาษาเขมรถิ่นไทย จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก สาขามอญ-เขมร ตะวันออก (Diffloth 2005) มีจำนวนผู้พูดประมาณ 1.4 ล้านคน (สุวิไลและคณะ, 2547) ภาษาเขมรที่พูดในประเทศไทยนี้ไม่มีอักษรและระบบเขียนมาก่อน ถึงแม้จะใช้อักษรเขมรมาเขียนก็คงไม่สามารถแทนได้ทุกเสียง เพราะมีความแตกต่างบางประการจากเขมรกัมพูชา ทำให้ภาษาเขมรถิ่นไทยได้รับผลกระทบจากการถดถอยทางภาษาและวัฒนธรรม การสูญเสียภาษาจะมีผลกระทบต่อการสูญเสียภูมิปัญญาและระบบความรู้ต่างๆของกลุ่มชน เช่น ปรัชญาในการดำเนินชีวิต วรรณกรรม มุขปาฐะ ดนตรี ศิลปะประดิษฐ์ พืชสมุนไพร และอื่น ๆ อีกมากมาย

งานศึกษาเกี่ยวกับภาษาเขมรถิ่นไทยในอดีต มีผู้ทำการศึกษาเรื่องระบบเสียงหลายท่าน เช่น Krissana, 1986; Prakorb, 1987; Amphon, 1996; Ponchanok, 2016. ซึ่งเป็นการศึกษาตามแนวทางภาษาศาสตร์ ต่อมานักภาษาศาสตร์จากสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ทำงานด้านอนุรักษ์ฟื้นฟูภาษาในภาวะวิกฤตและภาษาที่มีการถดถอยทางวัฒนธรรม จึงได้ร่วมทำงานกับชุมชนเขมรถิ่นไทยเพื่อส่งเสริมให้ชุมชนได้ทำงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นตามความต้องการของตนเองตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 เป็นต้นมา รวมทั้งสร้างระบบเขียนภาษาเขมรถิ่นไทยด้วยอักษรไทย โดยได้รับการรับรองจากราชบัณฑิตยสภา และพิมพ์เป็นคู่มือระบบเขียนภาษาเขมรถิ่นไทย อักษรไทยในปี พ.ศ. 2556

หัวข้อ: 
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
คำศัพท์
สรุป
คำศัพท์หมวดสัตว์ ผักและผลไม้ของภาษาเขมรถิ่นไทย
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
สื่อการสอน
สรุป
สื่อการสอนภาษาเขมรถิ่นไทย ในรูปแบบหนังสือเล่มเล็กเพื่อส่งเสริมการอ่าน เรื่อง หนูกับกบ
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
สื่อการสอน
สรุป
สื่อการสอนภาษาเขมรถิ่นไทย ในรูปแบบหนังสือเล่มเล็กเพื่อส่งเสริมการอ่าน เรื่องวัวด่าง
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
สื่อการสอน
สรุป
สื่อการสอนภาษาเขมรถิ่นไทย ในรูปแบบหนังสือเล่มเล็กเพื่อส่งเสริมการอ่าน เรื่องตากลัวไม้เรียว
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
เรื่องเล่า
สรุป
เล่าถึงการปลูกข้าวของชาวเขมรถิ่นไทย ในหมู่บ้านขนาดปรีง จ.สุรินทร์
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
เรื่องเล่า
สรุป
คนตาบอดกับคนพิการ เป็นนิทานชวนหัวของชาวบ้านขนาดปรีงที่ผู้เฒ่าผู้แก่เล่าให้ลูกหลานฟังก่อนนอน เนื้อเรื่องขนาดสั้น มีตัวละครหลักเพียง 2 ตัว ฉากและสถานการณ์มีความเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตและธรรมชาติของคนในชุมชน
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณและการใช้ประโยชน์ของพืชสมุนไพร ปร็อฮ ซวา
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณและการใช้ประโยชน์ของพืชสมุนไพร อัจอเมา
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
การใช้ประโยชน์พืช ลงฺีญ อัจโกน
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร กันตเริ็ง
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
การใช้ประโยชน์ของพืช เดฺิม ปฺูจ
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร จังอฺีญ เซจ
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
การใช้ประโยชน์ของพืช ตลมเป
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร กตุย ปร็วฮ
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร ตระมูง เซจ
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
การใช้ประโยชน์ของพืช เดฺิม กเตียว
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
การใช้ประโยชน์ของพืช เดฺิม พเงียฮ
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร เซฺาะ เนียง
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร เดฺาะ ตัวะ
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร กจอฺก เนฺิก
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร ปันรอฮ
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร บาดปเตฺิ็ลตูจ
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร เดฺิม กร็วง
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร ซเมา ปเร็จ
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร เดฺิม คล็อง
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร เดฺิม รกา
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
การใช้ประโยชน์ของพืช มจู ซนัร
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร ญัว ปรฺี
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร เวื็อร กฮอฺม
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร ซงคง
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
การใช้ประโยชน์ของพืชป่า พเงีย ยา
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
การใช้ประโยชน์ของพืชป่า ตโลงตฺีน
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร รเงฺิก พเลฺิง
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร ตระนม ติญกฺูย
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร เวื็อร ซโบน
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร แตกตอก
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร ตเทาะ
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
คุณสมบัติของไม้ประดับ เนียงจุม
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร เดฺิม จรฺูย
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร อำปรฺุม ปแรปรอย
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร ซังเคิ็ร
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร ปะปเลีย
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร อันต็วง ซอฺ
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
การใช้ประโยชน์ของพืชป่า งบ
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
การใช้ประโยชน์ของพืชป่า ตลัด
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร ซเมา ปัวะ
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุน ไพรตรฺีล
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร จังก็วง ฮีญ
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร โดง ปเรียฮ
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร กตุย จูน
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร ซเมา ตเซ็ด
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
คุณสมบัติของพืช มเรียะ
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร ทเม็ญ ตแร็ย ซบาด
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร รันเด็ญ
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
การใช้ประโยชน์ของพืชป่า ตราจ
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
การใช้ประโยชน์ของพืช ซเดา
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
การใช้ประโยชน์ของพืช กทิน นรง เยียะ
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร จังกร็อง ซวา
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร ซเบฺิ็ว
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร ซวาย ปรฺี
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
การใช้ประโยชน์ของพืชป่า กคบ ซเราะ
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
คุณสมบัติของพืช ซำเปือร
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร ซเดฺาะ ซดอร
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
สรรพคุณของพืชสมุนไพร ได คมอจ
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
การใช้ประโยชน์ของพืช ตมูง
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
ตลัวะเป็นผลไม้โบราณในป่าตาเกาว์ของกลุ่มเขมรถิ่นไทย
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
เป้นหนังสือรวบรวมพืชสมุนไพรใกล้ตัว ที่ปลูกไว้รอบๆบ้าน จำนวนทั้งสิ้นจำนวน 58 ชนิด พร้อมรูปภาพพืชและสรรพคุณอย่างย่อ
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สรุป
เป็นหนังสือรวบรวมพืชสมุนไพรบางชนิดที่เก็บข้อมูลจากป่าตาเกาว์ จำนวนทั้งสิ้นจำนวน 58 ชนิด พร้อมรูปภาพพืชและสรรพคุณอย่างย่อ
กลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
LangArchive-TH
หมวดหมู่
พิธีกรรม
สรุป
แซนโฎนตา เป็นประเพณีเซ่นไหว้ผีและบรรพบุรุษของชาวไทยเชื้อสายเขมร จัดขึ้นเพื่อเป็นการรำลึกและอุทิศส่วนกุศลแด่บรรพบุรุษผู้ล่วงลับ อาจเรียกว่าเป็นประเพณีในเทศกาลสารทเดือนสิบ หรือบุญเดือนสิบในภาคอื่น ๆ แต่อาจแตกต่างในรายละเอียดและขั้นตอนในการประกอบพิธีกรรม